บัญชีรายรับ-รายจ่าย ประจำเดือน ตุลาคม 2556
วันที่ รับ จ่าย คงหลือ ออม
1. ค่าเช่า 6,400 20
เงินเดือน 6,000
ค่าน้ำหมัก 1600
กำไลเติมเงินมือถือ 560 14,560
ค่าเรียนพิเศษ 400 14,140
2.ชักผ้า 160 14,320 20
ค่าโทรศัพท์ 560
ฝากประจำ 1,000
ค่าประกันนะโม 715
ค่าประกันตัวเอง 619
ค่าประกันสังคม 432
จ่ายกู้ออมสิน 3000
ค่าเน็ต 715
ค่ากับข้าว 125
.ให้แม่ 2000 7,134
3.ชักผ้า 200 7,334 20
ขนม+กับข้าว 200
เติมน้ำมันรถ 100
ใส่ซอง 200 6,814
4.ชักผ้า 120 20
ซื้อของ 7 312
กับข้าว 95 6,507
5.จ่ายตลาด 558 20
ข้าว 150
กาแฟ 140 5,639
6.ไปเรียนกินข้าว 50 20
เติมน้ำมันรถ 100 5,469
7.ขายน้ำยาล้างจาน 500 20
ค่าไฟ 987 20
ค่าน้ำ 305 4,657
8.ชักผ้า 180 20
ของใช้ในบ้าน 1725
กับข้าว 200 2,892
9.ชักผ้า 2 เจ้า 365 20
กับข้าว 180 3,057
10.ขายน้ำยาชักผ้า 200 20
ซื้อรองเท้า 550 2,687
11.ชักผ้า 160 20
กับข้าว 187 2,640
12.กับข้าว 100 20
ซื้อหนัง 89 2,431
13.กินข้าวกับเพื่อน 150 20
ขายน้ำยาล้างจาน 100 2,561
14.ชักผ้า 260 2821 20
15.ชักผ้า 180 20
กับข้าว 135 2846
16ชักผ้า 180 20
ขายเพราะงอก 120
กับข้าว 200 2926
17.
วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 18
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
reporter รีพอร์ทเตอร์ นักข่าว
editor เอดิเทอร์ บรรณาธิการ
photographer โฟโต้กร๊าฟเฟ่อร์ ช่างภาพ
movie มูวี่ สตาร์ ดาราหนัง
film star ฟิล์ม สตาร์ ดาราหนัง
engineer เอ็นจิเนียร์ วิศวกร
singer ซิง เง่อร์ นักร้อง
football player ฟุตบอล เพลเยอร์ นักฟุตบอล
dentist เดนทิ้สท์ ทันตแพทย์
taxi driver แท็กซี่ ไดร็เว่อร์ คนขับแท็กซี่่
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
reporter รีพอร์ทเตอร์ นักข่าว
editor เอดิเทอร์ บรรณาธิการ
photographer โฟโต้กร๊าฟเฟ่อร์ ช่างภาพ
movie มูวี่ สตาร์ ดาราหนัง
film star ฟิล์ม สตาร์ ดาราหนัง
engineer เอ็นจิเนียร์ วิศวกร
singer ซิง เง่อร์ นักร้อง
football player ฟุตบอล เพลเยอร์ นักฟุตบอล
dentist เดนทิ้สท์ ทันตแพทย์
taxi driver แท็กซี่ ไดร็เว่อร์ คนขับแท็กซี่่
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 17
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
architect อะคิเท็ค สถาปนิค
carpenter คาร์เพนเทอร์ ช่างไม้
diplomat ดิ๊พโพลแม็ท นักการทูต
construction worker คอนสตรั๊คเชิ่น เวอร์เค่อร์ ช่างก่อสร้าง
farmer ฟาร์เม่อร์ ชาวนา
fisherman ฟิชเช่อร์แมน ชาวประมง
lawyer ลอว์เย่อร ทนายความ
teacher ทีเช่อร์ ครู
translator ทราสเลเตอร์ นักแปล
interpreter อินเตอร์พริเท่อร์ ล่าม
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
architect อะคิเท็ค สถาปนิค
carpenter คาร์เพนเทอร์ ช่างไม้
diplomat ดิ๊พโพลแม็ท นักการทูต
construction worker คอนสตรั๊คเชิ่น เวอร์เค่อร์ ช่างก่อสร้าง
farmer ฟาร์เม่อร์ ชาวนา
fisherman ฟิชเช่อร์แมน ชาวประมง
lawyer ลอว์เย่อร ทนายความ
teacher ทีเช่อร์ ครู
translator ทราสเลเตอร์ นักแปล
interpreter อินเตอร์พริเท่อร์ ล่าม
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่16
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
burner เบอร์นเน่อร์ เตาแก๊ส
oven โอเว่น เตาอบ
microwave oven ไมโครเวฟ โอเว่น เตาอบไมโครเวฟ
knife ไน้ฟ มีด
refrigerator รีฟิเจอเรเตอร์ ตู้เย็น
toaster โท้สเตอร์ เครื่องปิ้งขนมปัง
kettle เคทเทิ่ล กาน้ำ
frying pan ฟรายอิ้ง แพน กระทะ
blender เบล็นเด้อร์ เครื่องผสมอาหาร
stock pot สต็อค พ้อท หม้อต้มน้ำ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
burner เบอร์นเน่อร์ เตาแก๊ส
oven โอเว่น เตาอบ
microwave oven ไมโครเวฟ โอเว่น เตาอบไมโครเวฟ
knife ไน้ฟ มีด
refrigerator รีฟิเจอเรเตอร์ ตู้เย็น
toaster โท้สเตอร์ เครื่องปิ้งขนมปัง
kettle เคทเทิ่ล กาน้ำ
frying pan ฟรายอิ้ง แพน กระทะ
blender เบล็นเด้อร์ เครื่องผสมอาหาร
stock pot สต็อค พ้อท หม้อต้มน้ำ
วันอังคารที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2556
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่15
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
garden การ์เด้น สวนในบ้าน
fence เฟ้นซ์ รั้วบ้าน
gate เกท ประตูรั้วบ้าน
mailbox เม็ลบอกซ์ ตู้รับจดหมาย
cupdoard คัพบอร์ด ตู้ใส่จาน ชาม
coffee maker ค๊อฟฟี่ เมคเก้อร์ เครื่องต้มกาแฟ
cop คัพ ถ้วย
glass กล๊าส แก้วน้ำ
spoon สพูน ช้อน
fork ฟอร์ค ซ้อม
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
garden การ์เด้น สวนในบ้าน
fence เฟ้นซ์ รั้วบ้าน
gate เกท ประตูรั้วบ้าน
mailbox เม็ลบอกซ์ ตู้รับจดหมาย
cupdoard คัพบอร์ด ตู้ใส่จาน ชาม
coffee maker ค๊อฟฟี่ เมคเก้อร์ เครื่องต้มกาแฟ
cop คัพ ถ้วย
glass กล๊าส แก้วน้ำ
spoon สพูน ช้อน
fork ฟอร์ค ซ้อม
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่ 14
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
roof รู้ฟ หลังคาบ้าน
balcony บัลโคนี่ ระเบียงบ้าน
window วินโด้ว หน้าต่าง
door ดอร์ ประตู
chimney ชิมนี่ ปล่องไฟ
doorbell ดอร์เบล กริ่งประตู
window frame วินโด้ว เฟรม กรอบหน้าต่าง
window pane วินโด้วเพล กระจกหน้าต่าง
drainpipe เดรนไพ๊พ์ ท่อระบายน้ำ
gutter กั๊ทเทอร์ รางน้ำฝน
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
roof รู้ฟ หลังคาบ้าน
balcony บัลโคนี่ ระเบียงบ้าน
window วินโด้ว หน้าต่าง
door ดอร์ ประตู
chimney ชิมนี่ ปล่องไฟ
doorbell ดอร์เบล กริ่งประตู
window frame วินโด้ว เฟรม กรอบหน้าต่าง
window pane วินโด้วเพล กระจกหน้าต่าง
drainpipe เดรนไพ๊พ์ ท่อระบายน้ำ
gutter กั๊ทเทอร์ รางน้ำฝน
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่13
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
deck เด็ค ดาดฟ้าเรือ
stern สเทิร์น ท้ายเรือ
bow บาว หัวเรือ
cabin เคบิ้น ห้องโดยสารเรือ
anchor แองเคอร์ สมอเรือ
propeller โพรเพลเลอร์ ใบพัดเรือ หรือใบจักรเรือ
rudder รัดเดอร์ หางเสือเรือ
engine room เอ็นจิ้น รูม ห้องเครื่อง เครื่องยนต์เรือ
life boat ไลฟ์ โบท์ เรือชูชีพ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
deck เด็ค ดาดฟ้าเรือ
stern สเทิร์น ท้ายเรือ
bow บาว หัวเรือ
cabin เคบิ้น ห้องโดยสารเรือ
anchor แองเคอร์ สมอเรือ
propeller โพรเพลเลอร์ ใบพัดเรือ หรือใบจักรเรือ
rudder รัดเดอร์ หางเสือเรือ
engine room เอ็นจิ้น รูม ห้องเครื่อง เครื่องยนต์เรือ
life boat ไลฟ์ โบท์ เรือชูชีพ
วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 12
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
break เบรก ที่ห้ามล้อ
accelerator แอ็กเซเลอเรเตอร์ คันเร่ง
clutch คลัทซ์ คลัทซ์
boat โบ้ท เรือทั่วไป
ship ชิ้พ เรือขนาดใหญ่
row boat โรว์ โบ้ท เรือแจว
sail boat แซล โบ้ท เรือใบ
motor boat มอเตอร์โบ้ท เรือยนต์
contaiter ship คอร์เทนเนอร์ ชิ้พ เรือบรรทุกสินค้า
passenger ahip แพส เซ็นเจอร์ ชิ้พ เรือโดยสารขนาดใหญ่
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
break เบรก ที่ห้ามล้อ
accelerator แอ็กเซเลอเรเตอร์ คันเร่ง
clutch คลัทซ์ คลัทซ์
boat โบ้ท เรือทั่วไป
ship ชิ้พ เรือขนาดใหญ่
row boat โรว์ โบ้ท เรือแจว
sail boat แซล โบ้ท เรือใบ
motor boat มอเตอร์โบ้ท เรือยนต์
contaiter ship คอร์เทนเนอร์ ชิ้พ เรือบรรทุกสินค้า
passenger ahip แพส เซ็นเจอร์ ชิ้พ เรือโดยสารขนาดใหญ่
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 11
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
roof รู้ฟ หลังคา
muffler มัฟเฟลอร์ ท่อไอเสีย
front seat ฟร้อนท์ ชีท เบาะหน้า
rear seat เรีย ชีท เบาะหลัง
tire ไทร์ ยางรถ
sideview mirror ไซร์วิว มิเรอร์ กระจกข้าง
reaview mirror เรียวิว มิเรอร์ กระจกมองหลัง
winker วิ้งเคอร์ ไฟกระพริบ
horn ฮอร์น แตร์
steering wheel สเตียร์ริ่ง พวงมาลัย
roof รู้ฟ หลังคา
muffler มัฟเฟลอร์ ท่อไอเสีย
front seat ฟร้อนท์ ชีท เบาะหน้า
rear seat เรีย ชีท เบาะหลัง
tire ไทร์ ยางรถ
sideview mirror ไซร์วิว มิเรอร์ กระจกข้าง
reaview mirror เรียวิว มิเรอร์ กระจกมองหลัง
winker วิ้งเคอร์ ไฟกระพริบ
horn ฮอร์น แตร์
steering wheel สเตียร์ริ่ง พวงมาลัย
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 10
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
engine เอ็นจิ้น เครื่องยนต์
bonnet บอนเน็ท กระโปรงหน้ารถ
windshield วินด์ชีลด์ กระจกหน้ารถ
windshield wiper วินด์ชีลด์ ไวเพอร์ ที่ปัดน้ำฝน
bumper บั้มเฟอร์ กันชน
license plate ไลเซ่นส์ เพลท ป้ายทะเบียนรถ
front light เท็ล ไลท์ ไฟท้ายรถ
door handle ดอร์ แฮนเดิ้ล ที่เปิดประตูรถ
front door ฟร้อนท์ ดอร์ ประตูหน้า
rear door เรียร์ ดอร์ ประตูหลัง
engine เอ็นจิ้น เครื่องยนต์
bonnet บอนเน็ท กระโปรงหน้ารถ
windshield วินด์ชีลด์ กระจกหน้ารถ
windshield wiper วินด์ชีลด์ ไวเพอร์ ที่ปัดน้ำฝน
bumper บั้มเฟอร์ กันชน
license plate ไลเซ่นส์ เพลท ป้ายทะเบียนรถ
front light เท็ล ไลท์ ไฟท้ายรถ
door handle ดอร์ แฮนเดิ้ล ที่เปิดประตูรถ
front door ฟร้อนท์ ดอร์ ประตูหน้า
rear door เรียร์ ดอร์ ประตูหลัง
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 9
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
shiny ไชน์นี่ มีแดดออก
fine ไฟน์ (อากาศ)ดี
fog ฟ็อก มีหมอก
frost ฟร้อสท์ น้ำค้างแข็ง
mist มิสท์ อากาศชื้น
storm สตอร์ม พายุ
snow storm สโนว สตอร์ม พายุหิมะ
bizzard บิซซาร์ด พายุหิมะ
fair แฟร์ อากาศเปิด,แจ่มใส
clear เคลียร์ อากาศแจ่มใส
shiny ไชน์นี่ มีแดดออก
fine ไฟน์ (อากาศ)ดี
fog ฟ็อก มีหมอก
frost ฟร้อสท์ น้ำค้างแข็ง
mist มิสท์ อากาศชื้น
storm สตอร์ม พายุ
snow storm สโนว สตอร์ม พายุหิมะ
bizzard บิซซาร์ด พายุหิมะ
fair แฟร์ อากาศเปิด,แจ่มใส
clear เคลียร์ อากาศแจ่มใส
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ 8
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
summer ซัมเมอร์ ฤดูร้อน
winter วินเทอร์ ฤดูหนาว
rainy season เรนนี่ ซีเซิ่น ฤดูฝน
autumn ออทั่ม ฤดูใบไม้ร่วง
spring สปริง ฤดูใบไม้ผลิ
snow สโน หิมะ
hot ฮ็อท (อากาศ)ร้อน
warm วอร์ม (อากาศ)อุ่น
cold โคลด์ (อากาศ)เย็น
coludy คลาวดี้ มีเมฆมาก
summer ซัมเมอร์ ฤดูร้อน
winter วินเทอร์ ฤดูหนาว
rainy season เรนนี่ ซีเซิ่น ฤดูฝน
autumn ออทั่ม ฤดูใบไม้ร่วง
spring สปริง ฤดูใบไม้ผลิ
snow สโน หิมะ
hot ฮ็อท (อากาศ)ร้อน
warm วอร์ม (อากาศ)อุ่น
cold โคลด์ (อากาศ)เย็น
coludy คลาวดี้ มีเมฆมาก
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 7
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
adopted son อะด๊อพท์ ซัน ลูกชายบุญธรรม
adopted daughter อะด๊อพท์ ดอเตอร์ ลูกสาวบุญธรรม
orphan ออร์เฟิน ลูกกำพร้า
son in law ซัน อิน ลอ ลูกเขย
daughter in law ดอเตอร์ อิน ลอ ลูกสะใภ้
step mother สเต๊พ มาเธอร์ แม่เลี้ยง
step father สเต๊พ ฟาเธอร์ พ่อเลี้ยง
adopted son อะด๊อพท์ ซัน ลูกชายบุญธรรม
adopted daughter อะด๊อพท์ ดอเตอร์ ลูกสาวบุญธรรม
orphan ออร์เฟิน ลูกกำพร้า
son in law ซัน อิน ลอ ลูกเขย
daughter in law ดอเตอร์ อิน ลอ ลูกสะใภ้
step mother สเต๊พ มาเธอร์ แม่เลี้ยง
step father สเต๊พ ฟาเธอร์ พ่อเลี้ยง
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
cousin เคาซิ่น ลูกพี่ลูกน้อง
relative รีเลทีฟ ญาติๆ
son ซัน ลูกชาย
daughter ดอเตอร์ ลูกสาว
child ไซด์ ลูกๆ
husband ฮัสเบินด์ สามี
wife ไวฟ์ ภรรยา
nephew เนฟฟิว หลานชาย
niece นิช หลานสาว
adopted child อะด๊อพท์ไชด์ ลูกบุญธรรม
cousin เคาซิ่น ลูกพี่ลูกน้อง
relative รีเลทีฟ ญาติๆ
son ซัน ลูกชาย
daughter ดอเตอร์ ลูกสาว
child ไซด์ ลูกๆ
husband ฮัสเบินด์ สามี
wife ไวฟ์ ภรรยา
nephew เนฟฟิว หลานชาย
niece นิช หลานสาว
adopted child อะด๊อพท์ไชด์ ลูกบุญธรรม
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 5
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
parent แพเริ้นท์ พ่อแม่
father ฟาเธอร์ พ่อ
dad daddy แด้ด,แด้ดดี้ พ่อ
mother มาเธอร์ แม่
mom,mamy มอม,มามี่ แม่
elder brother เอลเดอร์ บราเธอร์ พี่ชาp
younger brother ยังเกอร์ บราเธอร์ น้องชาย
elder sister เอลเดอร์ ซิสเตอร์ พี่สาว
younger sister ยังเกอร์ ซิสเตอร์ น้องสาว
grandfather แกรนด์ฟาเธอร์ ปู่ ตา
grandfather แกรนด์มาเธอร์ ย่า ยาย
parent แพเริ้นท์ พ่อแม่
father ฟาเธอร์ พ่อ
dad daddy แด้ด,แด้ดดี้ พ่อ
mother มาเธอร์ แม่
mom,mamy มอม,มามี่ แม่
elder brother เอลเดอร์ บราเธอร์ พี่ชาp
younger brother ยังเกอร์ บราเธอร์ น้องชาย
elder sister เอลเดอร์ ซิสเตอร์ พี่สาว
younger sister ยังเกอร์ ซิสเตอร์ น้องสาว
grandfather แกรนด์ฟาเธอร์ ปู่ ตา
grandfather แกรนด์มาเธอร์ ย่า ยาย
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 4
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
ten thousand เทน เทาซันต์ หนึ่งหมื่น
forty thousand ฟอร์ตี้ เทาซันต์ สี่หมื่น
sixty thousand ซิกซ์ตี้ เทาซันต์ หกหมื่น
สำหรับจำนวนแสน ให้พูดเป็นจำนวน 100 พัน(100เท่าของหลักพัน)
หรือ " one hundred thousnd "
one million วัน มิลเลี่ยน หนึ่งล้าน
two million ทู มิลเลี่ยน สองล้าน
one dillion วัน บิลเลี่ยน หนึ่งพันล้าน
two dillion ทู บิลเลี่ยน สองพันล้าน
two thousand and ten ทูเทาซันต์ แอนด์ เท็น 2010
four thousand,three hundred and fifty two โฟ เทาซันต์,ทรี ฮันเดร็ด แอนด์ฟิฟตี้ทู 4352
ten thousand เทน เทาซันต์ หนึ่งหมื่น
forty thousand ฟอร์ตี้ เทาซันต์ สี่หมื่น
sixty thousand ซิกซ์ตี้ เทาซันต์ หกหมื่น
สำหรับจำนวนแสน ให้พูดเป็นจำนวน 100 พัน(100เท่าของหลักพัน)
หรือ " one hundred thousnd "
one million วัน มิลเลี่ยน หนึ่งล้าน
two million ทู มิลเลี่ยน สองล้าน
one dillion วัน บิลเลี่ยน หนึ่งพันล้าน
two dillion ทู บิลเลี่ยน สองพันล้าน
two thousand and ten ทูเทาซันต์ แอนด์ เท็น 2010
four thousand,three hundred and fifty two โฟ เทาซันต์,ทรี ฮันเดร็ด แอนด์ฟิฟตี้ทู 4352
คำศัพท์ภาษาอังกฤษสัปดาห์ที่ 3
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
orange juice ออร์เรนจ์จุ๊ส น้ำส้ม
tomato juice โทมาโทจุ๊ส น้ำมะเขือเทศ
coffee ค็อฟฟี่ กาแฟ
tea ที น้ำชา
sodr โซดา น้ำโซดา
wiskey วิสกี้ เหล้าวิสกี้
vordka ว้อดก้า เหล้าว้อดก้า
coke โค้ก โค้ก
brandy บรันดี้ เหล้าบรั่นดี
beer เบียร์ เบียร์
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
orange juice ออร์เรนจ์จุ๊ส น้ำส้ม
tomato juice โทมาโทจุ๊ส น้ำมะเขือเทศ
coffee ค็อฟฟี่ กาแฟ
tea ที น้ำชา
sodr โซดา น้ำโซดา
wiskey วิสกี้ เหล้าวิสกี้
vordka ว้อดก้า เหล้าว้อดก้า
coke โค้ก โค้ก
brandy บรันดี้ เหล้าบรั่นดี
beer เบียร์ เบียร์
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่ 2
คำศัพท์ภาษาอังกฤษคำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
heavy เฮฟวี หนัก
light ไลท์ เบา
clean คลีน สะอาด
dirty เดอที สกปรก
strong สทรอง แข็งแรง
weak วีค อ่อนแอ
deep ดีพ ลึก
shallow แชลโลว์ ตื้น
beautiful บิวตี้ฟุล สวยงาม
ugly อั๊กลี่ น่าเกลียด
heavy เฮฟวี หนัก
light ไลท์ เบา
clean คลีน สะอาด
dirty เดอที สกปรก
strong สทรอง แข็งแรง
weak วีค อ่อนแอ
deep ดีพ ลึก
shallow แชลโลว์ ตื้น
beautiful บิวตี้ฟุล สวยงาม
ugly อั๊กลี่ น่าเกลียด
วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สัปดาห์ที่ 1
สัปดาห์ที่ 1
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
high ไฮ สูง
low โลว์ ต่ำ
rich ริช รวย
poor พัวร์ ยากจน
clevcer เคลฟเวอร์ ฉลาด
stupid สทิวปิด โง่
happy แฮปปี ร่าเริง
sad แซด เศร้าใจ
wet เว็ท เปียก
dry ดราย แห้ง
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
high ไฮ สูง
low โลว์ ต่ำ
rich ริช รวย
poor พัวร์ ยากจน
clevcer เคลฟเวอร์ ฉลาด
stupid สทิวปิด โง่
happy แฮปปี ร่าเริง
sad แซด เศร้าใจ
wet เว็ท เปียก
dry ดราย แห้ง
บันทึกการเรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่
และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน
ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร
ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน
ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง
ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่
ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิต
ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล
และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญานี้ไปใช้ทำอะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คำว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทำกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดำรัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจนี้อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้น เป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่มได้จาก การสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
ทั้งนี้ คำว่า "อาสาฬหบูชา" สามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ อา-สาน-หะ-บู-ชา หรือ อา-สาน-ละ-หะ-บู-ชา ซึ่งจะประกอบด้วยคำ 2 คำ คือ อาสาฬห ที่แปลว่า เดือน 8 ทางจันทรคติ กับคำว่า บูชา ที่แปลว่า การบูชา เมื่อนำมารวมกันจึงแปลว่า การบูชาในเดือน 8 หรือการบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในเดือน 8
วันอาสาฬหบูชา คือวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ได้ 2 เดือน โดยแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ จน พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา จึงถือว่า วันนี้มีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์ครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช 45 ปี
ทั้งนี้ พระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 เรียกว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร" แปล ว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม ซึ่งหลังจากปฐมเทศนา หรือเทศนากัณฑ์แรกที่พระองค์ทรงแสดงจบลง พระอัญญาโกณฑัญญะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเป็นพระโสดาบัน จึงขออุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีที่เรียกว่า "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระโกณฑัญญะจึงได้เป็น พระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ต่อมา พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม และได้อุปสมบทตามลำดับ
สำหรับใจความสำคัญของการปฐมเทศนา มีหลักธรรมสำคัญ 2 ประการ คือ
1. มัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัติที่เป็นกลาง ๆ ถูกต้องและเหมาะสมที่จะให้บรรลุถึงจุดหมายได้ มิใช่การดำเนินชีวิตที่เอียงสุด 2 อย่าง หรืออย่างหนึ่งอย่างใด คือ
การหมกมุ่นในความสุขทางกาย มัวเมาในรูป รส กลิ่น เสียง รวมความเรียกว่าเป็นการหลงเพลิดเพลินหมกมุ่นในกามสุข หรือกามสุขัลลิกานุโยค
การสร้างความลำบากแก่ตน ดำเนินชีวิตอย่างเลื่อนลอย เช่น บำเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพึ่งอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นต้น ซึ่งการดำเนินชีวิตแบบที่ก่อความทุกข์ให้ตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
ดัง นั้น เพื่อละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสุดเหล่านี้ ต้องใช้ทางสายกลาง ซึ่งเป็นการดำเนินชีวิตด้วยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัติเป็นองค์ประกอบ 8 ประการ เรียกว่า อริยอัฏฐังคิกมัคค์ หรือ มรรคมีองค์ 8 ได้แก่
1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือ รู้เข้าใจถูกต้อง เห็นตามที่เป็นจริง
2. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คือ คิดสุจริตตั้งใจทำสิ่งที่ดีงาม
3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กล่าวคำสุจริต
4. สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ คือ ทำการที่สุจริต
5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชีพหรืออาชีพที่สุจริต
6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชั่วบำเพ็ญดี
7. สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ทำการด้วยจิตสำนึกเสมอ ไม่เผลอพลาด
8. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ คือ คุมจิตให้แน่วแน่มั่นคงไม่ฟุ้งซ่าน
2. อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐของอริยะ ซึ่งคือ บุคคลที่ห่างไกลจากกิเลส ได้แก่
1. ทุกข์ ได้แก่ ปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ บุคคลต้องกำหนดรู้ให้เท่าทันตามความเป็นจริงว่ามันคืออะไร ต้องยอมรับรู้ กล้าสู้หน้าปัญหา กล้าเผชิญความจริง ต้องเข้าใจในสภาวะโลกว่าทุกสิ่งไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น ไม่ยึดติด
2. สมุทัย ได้แก่ เหตุเกิดแห่งทุกข์ หรือสาเหตุของปัญหา ตัวการสำคัญของทุกข์ คือ ตัณหาหรือเส้นเชือกแห่งความอยากซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นๆ
3. นิโรธ ได้แก่ ความดับทุกข์ เริ่มด้วยชีวิตที่อิสระ อยู่อย่างรู้เท่าทันโลกและชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยการใช้ปัญญา
4. มรรค ได้แก่ กระบวนวิธีแห่งการแก้ปัญหา อันได้แก่ มรรคมีองค์ 8 ประการดังกล่าวข้างต้น
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
นอกจากนี้ ยังมีประเพณีสำคัญที่ขาดไม่ได้เลย คือ "ประเพณีหล่อเทียนเข้าพรรษา" ประเพณีที่กระทำกันเมื่อใกล้ถึงฤดูเข้าพรรษา ซึ่งมีมาตั้งแต่โบราณกาล การหล่อเทียนเข้าพรรษานี้ มีอยู่เป็นประจำทุกปี เพราะในระยะเข้าพรรษา พระภิกษุจะต้องมีการสวดมนต์ทำวัตรทุกเช้า – เย็น และในการนี้จะต้องมีธูป - เทียนจุดบูชาด้วย พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย จึงพร้อมใจกันหล่อเทียนเข้าพรรษาสำหรับให้พระภิกษุจุดเป็นการกุศลทานอย่าง หนึ่ง เพราะเชื่อกันว่าในการให้ทานด้วยแสงสว่าง จะมีอานิสงฆ์เพิ่มพูนปัญญาหูตาสว่างไสว ตามชนบทนั้น การหล่อเทียนเข้าพรรษาทำกันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานมาก เมื่อหล่อเสร็จแล้ ก็จะมีการแห่แหน รอบพระอุโบสถ 3 รอบ แล้วนำไปบูชาพระตลอดระยะเวลา 3 เดือน บางแห่งก็มีการประกวดการตกแต่ง มีการแห่แหนรอบเมืองด้วยริ้วขบวนที่สวยงาม โดยถือว่าเป็นงานประจำปีเลยทีเดียว
ทั้งนี้ ในปี 2556 นี้ "วันเข้าพรรษา" จะตรงกับวันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันเข้าพรรษา 2556
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันเข้าพรรษา
ร่วมกิจกรรมทำเทียนจำนำพรรษา
ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัย แก่พระภิกษุสามเณร
ร่วมทำบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล
อธิษฐานงดเว้นอบายมุขต่าง ๆ
ประวัติสุนทรภู่
สารบัญ[ซ่อนสารบัญ] |
[แก้ไข] การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญานี้ไปใช้ทำอะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คำว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทำกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดำรัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจนี้อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้น เป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่มได้จาก การสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
[แก้ไข] หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้- กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
- คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
- คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้
- ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
- ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
- การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
- เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี
ความหมายของวันอาสาฬหบูชา
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก dhammathai.org
สำหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน คงทราบกันดีกว่า ทุกวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
ของทุกปี จะตรงกับวันสำคัญทางพุทธศาสนาอีกหนึ่งวัน นั่นคือ "วันอาสาฬหบูชา" ซึ่ง
ในปี 2556 นี้ วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันที่ 22 กรกฎาคม (ขึ้น 15 คํ่า เดือน
8) และวันเข้าพรรษา ตรงกับวันที่ 23 กรกฎาคม (แรม 1 คํ่า เดือน 8) แต่หลายท่านอาจจะยังไม่ทราบความเป็นมาเกี่ยวกับวันอาสาฬหบูชาเท่าใดนัก ดังนั้นวันนี้เรามีข้อมูลเกี่ยวกับวันอาสาฬหบูชามาฝากกันค่ะ
ทั้งนี้ คำว่า "อาสาฬหบูชา" สามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ อา-สาน-หะ-บู-ชา หรือ อา-สาน-ละ-หะ-บู-ชา ซึ่งจะประกอบด้วยคำ 2 คำ คือ อาสาฬห ที่แปลว่า เดือน 8 ทางจันทรคติ กับคำว่า บูชา ที่แปลว่า การบูชา เมื่อนำมารวมกันจึงแปลว่า การบูชาในเดือน 8 หรือการบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในเดือน 8
วันอาสาฬหบูชา คือวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ได้ 2 เดือน โดยแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ จน พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา จึงถือว่า วันนี้มีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์ครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช 45 ปี
ทั้งนี้ พระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 เรียกว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร" แปล ว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม ซึ่งหลังจากปฐมเทศนา หรือเทศนากัณฑ์แรกที่พระองค์ทรงแสดงจบลง พระอัญญาโกณฑัญญะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเป็นพระโสดาบัน จึงขออุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีที่เรียกว่า "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระโกณฑัญญะจึงได้เป็น พระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ต่อมา พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม และได้อุปสมบทตามลำดับ
สำหรับใจความสำคัญของการปฐมเทศนา มีหลักธรรมสำคัญ 2 ประการ คือ
1. มัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัติที่เป็นกลาง ๆ ถูกต้องและเหมาะสมที่จะให้บรรลุถึงจุดหมายได้ มิใช่การดำเนินชีวิตที่เอียงสุด 2 อย่าง หรืออย่างหนึ่งอย่างใด คือ
การหมกมุ่นในความสุขทางกาย มัวเมาในรูป รส กลิ่น เสียง รวมความเรียกว่าเป็นการหลงเพลิดเพลินหมกมุ่นในกามสุข หรือกามสุขัลลิกานุโยค
การสร้างความลำบากแก่ตน ดำเนินชีวิตอย่างเลื่อนลอย เช่น บำเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพึ่งอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นต้น ซึ่งการดำเนินชีวิตแบบที่ก่อความทุกข์ให้ตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
ดัง นั้น เพื่อละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสุดเหล่านี้ ต้องใช้ทางสายกลาง ซึ่งเป็นการดำเนินชีวิตด้วยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัติเป็นองค์ประกอบ 8 ประการ เรียกว่า อริยอัฏฐังคิกมัคค์ หรือ มรรคมีองค์ 8 ได้แก่
1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือ รู้เข้าใจถูกต้อง เห็นตามที่เป็นจริง
2. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คือ คิดสุจริตตั้งใจทำสิ่งที่ดีงาม
3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กล่าวคำสุจริต
4. สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ คือ ทำการที่สุจริต
5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชีพหรืออาชีพที่สุจริต
6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชั่วบำเพ็ญดี
7. สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ทำการด้วยจิตสำนึกเสมอ ไม่เผลอพลาด
8. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ คือ คุมจิตให้แน่วแน่มั่นคงไม่ฟุ้งซ่าน
2. อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐของอริยะ ซึ่งคือ บุคคลที่ห่างไกลจากกิเลส ได้แก่
1. ทุกข์ ได้แก่ ปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ บุคคลต้องกำหนดรู้ให้เท่าทันตามความเป็นจริงว่ามันคืออะไร ต้องยอมรับรู้ กล้าสู้หน้าปัญหา กล้าเผชิญความจริง ต้องเข้าใจในสภาวะโลกว่าทุกสิ่งไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น ไม่ยึดติด
2. สมุทัย ได้แก่ เหตุเกิดแห่งทุกข์ หรือสาเหตุของปัญหา ตัวการสำคัญของทุกข์ คือ ตัณหาหรือเส้นเชือกแห่งความอยากซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นๆ
3. นิโรธ ได้แก่ ความดับทุกข์ เริ่มด้วยชีวิตที่อิสระ อยู่อย่างรู้เท่าทันโลกและชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยการใช้ปัญญา
4. มรรค ได้แก่ กระบวนวิธีแห่งการแก้ปัญหา อันได้แก่ มรรคมีองค์ 8 ประการดังกล่าวข้างต้น
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา
พิธีกรรมโดยทั่วไปที่นิยมกระทำในวันนี้ คือ การทำบุญ ตักบาตร รักษาศีล ฟังพระธรรมเทศนา และสวดมนต์ ในตอนค่ำก็จะมีการเวียนเทียนที่เป็นการสืบทอดประเพณีอันดีงามของไทยเรา ดังนั้น พุทธศาสนิกชนทั้งหลายควรเข้าวัด เพื่อน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อีกทั้งยังเป็นการช่วยชะล้างจิตใจให้ปลอดโปร่งผ่องใส จะได้มีร่างกายและจิตใจที่พร้อมสำหรับการดำเนินชีวิตในยุคที่ค่าครองชีพถีบ ตัวสูงขึ้นอย่างนี้...
ความหมายของวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
อีกไม่นาน ก็จะถึงวันสำคัญทางพุทธศาสนานั่นก็คือ "วันเข้าพรรษา" ซึ่งเป็นวันที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง
ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน
ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น
หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า "จำพรรษา" นั่นเอง
ประวัติวันเข้าพรรษา
"เข้าพรรษา" แปลว่า "พักฝน" หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจำ ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน
โดยเหตุที่พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริกโปรดสัตว์
และเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนแก่ประชาชนไปในที่ต่าง ๆ
ไม่จำเป็นต้องมีที่อยู่ประจำ แม้ในฤดูฝน
ชาวบ้านจึงตำหนิว่าไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่น ๆ จนเสียหาย
พระพุทธเจ้าจึงทรงวางระเบียบการจำพรรษาให้พระภิกษุอยู่ประจำที่ตลอด 3 เดือน
ในฤดูฝน คือ เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี เรียกว่า "ปุริมพรรษา"
ถ้าปีใดมีเดือน 8 สองครั้ง ก็เลื่อนมาเป็นวันแรม 1 ค่ำ เดือนแปดหลัง และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เรียกว่า "ปัจฉิมพรรษา" เว้นแต่มีกิจธุระคือเมื่อเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลับได้ในเดียวนั้น ก็ทรงอนุญาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึ่งไม่เกิน 7 คืน เรียกว่า "สัตตาหะ" หากเกินกำหนดนี้ถือว่าไม่ได้รับประโยชน์แห่งการจำพรรษา จัดว่าพรรษาขาด
สำหรับข้อยกเว้นให้ภิกษุจำพรรษาที่อื่นได้ โดยไม่ถือเป็นการขาดพรรษา เว้นแต่เกิน 7 วัน ได้แก่
1.การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย
2.การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้
3.การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด
4.หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปฉลองศรัทธาในการบำเพ็ญกุศลของเขาได้
นอกจากนี้หากระหว่าง เดินทางตรงกับวันหยุดเข้าพรรษาพอดี พระภิกษุสงฆ์เข้ามาทันในหมู่บ้านหรือในเมืองก็พอจะหาที่พักพิงได้ตามสมควร แต่ถ้ามาไม่ทันก็ต้องพึ่งโคนไม้ใหญ่เป็นที่พักแรม ชาวบ้านเห็นพระได้รับความลำบากเช่นนี้ จึงช่วยกันปลูกเพิง เพื่อให้ท่านได้อาศัยพักฝน รวมกันหลาย ๆ องค์ ที่พักดังกล่าวนี้เรียกว่า "วิหาร" แปลว่า ที่อยู่สงฆ์ เมื่อหมดแล้ว พระสงฆ์ท่านออกจาริกตามกิจของท่านครั้ง ถึงหน้าฝนใหม่ท่านก็กลับมาพักอีก เพราะสะดวกดี แต่บางท่านอยู่ประจำเลย บางทีเศรษฐีมีจิตศัรทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ก็เลือกหาสถานที่สงบเงียบไม่ห่างไกลจากชุมชนนัก สร้างที่พัก เรียกว่า "อาราม" ให้เป็นที่อยู่ของสงฆ์ดังเช่นปัจจุบันนี้
ทั้งนี้ โดยปกติเครื่องใช้สอยของพระตามพุทธานุญาตให้มีประจำตัวนั้น มีเพียงอัฏฐบริขาร อันได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองน้ำ และมีดโกน และกว่าพระท่านจะหาที่พักแรมได้ บางทีก็ถูกฝนต้นฤดูเปียกปอนมา ชาวบ้านที่ใจบุญจึงถวายผ้าอาบน้ำฝนสำหรับให้ท่านได้ผลัดเปลี่ยน และถวายของจำเป็นแก่กิจประจำวันของท่านเป็นพิเศษในเข้าพรรษา นับเป็นเหตุให้มีประเพณีทำบุญเนื่องในวันนี้สืบมา...
อย่าง ไรก็ตาม แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรื่องของพระภิกษุ แต่พุทธศาสนิกชนก็ถือเป็นโอกาสดีที่จะได้ทำบุญรักษาศีล และชำระจิตใจให้ผ่องใส ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านก็จะไปช่วยพระทำความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกุฏิวิหารและอื่น ๆ พอถึงวันเข้าพรรษาก็จะไปร่วมทำบุญตักบาตร ถวายเครื่องสักการะบูชา ดอกไม้ ธูปเทียน และเครื่องใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟัน เป็นต้น พร้อมฟังเทศน์ ฟังธรรม และรักษาอุโบสถศีลกันที่วัด บาง คนอาจตั้งใจงดเว้นอบายมุขต่าง ๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งดเสพสุรา งดฆ่าสัตว์ เป็นต้น อนึ่ง บิดามารดามักจะจัดพิธีอุปสมบทให้บุตรหลานของตน โดยถือกันว่าการเข้าบวชเรียนและอยู่จำพรรษาในระหว่างนี้จะได้รับอานิสงส์ อย่างสูง
ถ้าปีใดมีเดือน 8 สองครั้ง ก็เลื่อนมาเป็นวันแรม 1 ค่ำ เดือนแปดหลัง และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เรียกว่า "ปัจฉิมพรรษา" เว้นแต่มีกิจธุระคือเมื่อเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลับได้ในเดียวนั้น ก็ทรงอนุญาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึ่งไม่เกิน 7 คืน เรียกว่า "สัตตาหะ" หากเกินกำหนดนี้ถือว่าไม่ได้รับประโยชน์แห่งการจำพรรษา จัดว่าพรรษาขาด
สำหรับข้อยกเว้นให้ภิกษุจำพรรษาที่อื่นได้ โดยไม่ถือเป็นการขาดพรรษา เว้นแต่เกิน 7 วัน ได้แก่
1.การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย
2.การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้
3.การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด
4.หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปฉลองศรัทธาในการบำเพ็ญกุศลของเขาได้
นอกจากนี้หากระหว่าง เดินทางตรงกับวันหยุดเข้าพรรษาพอดี พระภิกษุสงฆ์เข้ามาทันในหมู่บ้านหรือในเมืองก็พอจะหาที่พักพิงได้ตามสมควร แต่ถ้ามาไม่ทันก็ต้องพึ่งโคนไม้ใหญ่เป็นที่พักแรม ชาวบ้านเห็นพระได้รับความลำบากเช่นนี้ จึงช่วยกันปลูกเพิง เพื่อให้ท่านได้อาศัยพักฝน รวมกันหลาย ๆ องค์ ที่พักดังกล่าวนี้เรียกว่า "วิหาร" แปลว่า ที่อยู่สงฆ์ เมื่อหมดแล้ว พระสงฆ์ท่านออกจาริกตามกิจของท่านครั้ง ถึงหน้าฝนใหม่ท่านก็กลับมาพักอีก เพราะสะดวกดี แต่บางท่านอยู่ประจำเลย บางทีเศรษฐีมีจิตศัรทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ก็เลือกหาสถานที่สงบเงียบไม่ห่างไกลจากชุมชนนัก สร้างที่พัก เรียกว่า "อาราม" ให้เป็นที่อยู่ของสงฆ์ดังเช่นปัจจุบันนี้
ทั้งนี้ โดยปกติเครื่องใช้สอยของพระตามพุทธานุญาตให้มีประจำตัวนั้น มีเพียงอัฏฐบริขาร อันได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองน้ำ และมีดโกน และกว่าพระท่านจะหาที่พักแรมได้ บางทีก็ถูกฝนต้นฤดูเปียกปอนมา ชาวบ้านที่ใจบุญจึงถวายผ้าอาบน้ำฝนสำหรับให้ท่านได้ผลัดเปลี่ยน และถวายของจำเป็นแก่กิจประจำวันของท่านเป็นพิเศษในเข้าพรรษา นับเป็นเหตุให้มีประเพณีทำบุญเนื่องในวันนี้สืบมา...
อย่าง ไรก็ตาม แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรื่องของพระภิกษุ แต่พุทธศาสนิกชนก็ถือเป็นโอกาสดีที่จะได้ทำบุญรักษาศีล และชำระจิตใจให้ผ่องใส ก่อนวันเข้าพรรษาชาวบ้านก็จะไปช่วยพระทำความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกุฏิวิหารและอื่น ๆ พอถึงวันเข้าพรรษาก็จะไปร่วมทำบุญตักบาตร ถวายเครื่องสักการะบูชา ดอกไม้ ธูปเทียน และเครื่องใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟัน เป็นต้น พร้อมฟังเทศน์ ฟังธรรม และรักษาอุโบสถศีลกันที่วัด บาง คนอาจตั้งใจงดเว้นอบายมุขต่าง ๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งดเสพสุรา งดฆ่าสัตว์ เป็นต้น อนึ่ง บิดามารดามักจะจัดพิธีอุปสมบทให้บุตรหลานของตน โดยถือกันว่าการเข้าบวชเรียนและอยู่จำพรรษาในระหว่างนี้จะได้รับอานิสงส์ อย่างสูง
วันเข้าพรรษา
นอกจากนี้ ยังมีประเพณีสำคัญที่ขาดไม่ได้เลย คือ "ประเพณีหล่อเทียนเข้าพรรษา" ประเพณีที่กระทำกันเมื่อใกล้ถึงฤดูเข้าพรรษา ซึ่งมีมาตั้งแต่โบราณกาล การหล่อเทียนเข้าพรรษานี้ มีอยู่เป็นประจำทุกปี เพราะในระยะเข้าพรรษา พระภิกษุจะต้องมีการสวดมนต์ทำวัตรทุกเช้า – เย็น และในการนี้จะต้องมีธูป - เทียนจุดบูชาด้วย พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย จึงพร้อมใจกันหล่อเทียนเข้าพรรษาสำหรับให้พระภิกษุจุดเป็นการกุศลทานอย่าง หนึ่ง เพราะเชื่อกันว่าในการให้ทานด้วยแสงสว่าง จะมีอานิสงฆ์เพิ่มพูนปัญญาหูตาสว่างไสว ตามชนบทนั้น การหล่อเทียนเข้าพรรษาทำกันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานมาก เมื่อหล่อเสร็จแล้ ก็จะมีการแห่แหน รอบพระอุโบสถ 3 รอบ แล้วนำไปบูชาพระตลอดระยะเวลา 3 เดือน บางแห่งก็มีการประกวดการตกแต่ง มีการแห่แหนรอบเมืองด้วยริ้วขบวนที่สวยงาม โดยถือว่าเป็นงานประจำปีเลยทีเดียว
ทั้งนี้ ในปี 2556 นี้ "วันเข้าพรรษา" จะตรงกับวันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันเข้าพรรษา 2556
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันเข้าพรรษา
ร่วมกิจกรรมทำเทียนจำนำพรรษา
ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัย แก่พระภิกษุสามเณร
ร่วมทำบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล
อธิษฐานงดเว้นอบายมุขต่าง ๆ
ประวัติสุนทรภู่
วันสุนทรภู่ 26 มิถุนายน
วันสุนทรภู่ 26 มิถุนายน วันสุนทรภู่ ประวัติ
วันสุนทรภู่
วันสุนทรภู่ ตรงกับวันเกิดคือ วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี
วันสุนทรภู่ ปีนี้ตรงกับ วันพุธ ที่ 26 มิถุนายน 2555
พระ
สุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (พ.ศ.
2329-2398) กวีไทยที่มีชื่อเสียงใน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
มีผลงานที่มีชื่อเสียงหลายเรื่องได้แก่ พระอภัยมณี นิราศพระบาท
นิราศภูเขาทอง
ได้รับยกย่องจากองค์การยูเนสโกเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม เมื่อ
พ.ศ. 2529
ประวัติสุนทรภู่
สุนทรภู่
เกิดในรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 ขึ้น 1
ค่ำ ปีมะเมีย จุลศักราช 1148 เวลาเช้า 2 โมง (ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน
พ.ศ. 2329) ณ บริเวณด้านเหนือของพระราชวังหลัง
(ซึ่งเป็นบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อยปัจจุบันนี้) ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2398
รวมอายุได้ 69 ปี
บิดา
ของสุนทรภู่เป็นชาวบ้านกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง มารดาเป็นชาวเมืองอื่น
สุนทรภู่เกิดเมื่อหลังจากได้สร้างกรุงเทพมหานครแล้ว 4 ปี
แล้วต่อมาในภายหลังบิดามารดาได้หย่าร้างกัน
บิดาออกไปบวชอยู่ที่วัดป่ากร่ำอันเป็นภูมิลำเนาเดิม
ส่วนมารดาได้เข้าไปอยู่ในพระราชวังหลัง
ถวายตัวเป็นนางนมของพระองค์เจ้าหญิงจงกล
พระธิดาในเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์
ดังนั้นสุนทรภู่จึงได้อยู่ในพระราชวังหลังกับมารดา
และได้ถวายตัวเป็นข้าในกรมพระราชวังหลัง
เมื่อ
สุนทรภู่อายุได้ประมาณ 2 ขวบ
มารดาได้นำไปฝากให้เรียนหนังสือกับพระในสำนักวัดชีปะขาว
(ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานนามในรัชกาลที่ 4 ว่า วัดศรีสุดาราม
อยู่ริมคลองบางกอกน้อย)
ต่อมาได้เข้ารับราชการเป็นเสมียนนายระวางกรมพระคลังสวน ในกรมพระคลังสวน
แต่ไม่ชอบทำงานอื่นนอกจากแต่งบทกลอน ซึ่งสามารถแต่งได้ดี
ตั้งแต่ยังรุ่นหนุ่ม
กุฎิ
วัดเทพธิดารามที่สุนทรภู่บวชจำพรรษา
เป็นสถานที่ค้นพบวรรณกรรมที่ทรงคุณค่ามากมายเช่น พระอภัยมณี ฯลฯ
ที่ท่านเก็บซ่อนไว้ใต้เพดานหลังคากุฎิของท่าน
กุฎิวัดเทพธิดารามที่สุนทรภู่บวชจำพรรษา
เป็นสถานที่ค้นพบวรรณกรรมที่ทรงคุณค่ามากมายเช่น พระอภัยมณี ฯลฯ
ที่ท่านเก็บซ่อนไว้ใต้เพดานหลังคากุฎิของท่าน อนุสาวรอนุสาวรีย์สุนทรภู่ที่
วัดศรีสุดาราม
ใน
พ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2
สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรมอาลักษณ์ได้เป็นขุนสุนทรโวหาร
ระหว่างรับราชการต้องจำคุกเพราะถูกอุทธรณ์ว่าเมาสุราทำร้ายญาติผู้ใหญ่
ภายหลังพ้นโทษ ได้เป็นพระอาจารย์ถวายอักษรสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
เจ้าฟ้าอาภรณ์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2
ในรัช
สมัยรัชกาลที่ 3 สุนทรภู่ออกจากราชการและออกบวช
เมื่อลาสิกขาแล้วถวายตัวอยู่กับพระองค์เจ้าลักขณานุคุณได้ปีหนึ่ง
ครั้นเจ้านายพระองค์นั้นสิ้นพระชนม์
สุนทรภู่ก็ขาดที่พึ่งได้รับความลำบากมาก
ต้องลอยเรืออยู่และแต่งหนังสือขายเลี้ยงชีวิต ต่อมาจึงได้รับพระอุปถัมภ์
จากกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พ.ศ.
2394 สุนทรภู่ ได้เป็นเจ้ากรมอาลักษณ์ ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศักดิ์เป็น
พระสุนทรโวหาร ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากสุนทรภู่ (ภู่) จะได้รับนามสกุลคือ “ภู่เรือหงส์”
ตำแหน่งทางราชการ สุนทรภู่
- หลวงสุนทรโวหาร – พ.ศ. 2359
- พระสุนทรโวหาร – พ.ศ. 2394
ผลงาน ของท่านสุนทรภู่
-
นิราศ (วันสุนทรภู่)
- นิราศเมืองแกลง
- นิราศพระบาท
- นิราศภูเขาทอง
- นิราศวัดเจ้าฟ้า
- นิราศอิเหนา
- นิราศสุพรรณ
- นิราศพระประธม
- นิราศเมืองเพชร
- รำพันพิราป
-
นิทาน (วันสุนทรภู่)
- โคบุตร
- พระอภัยมณี
- พระไชยสุริยา
- ลักษณวงศ์
- สิงหไตรภพ
-
สุภาษิต (วันสุนทรภู่)
- สวัสดิรักษา
- เพลงยาวถวายโอวาท
- สุภาษิตสอนหญิง (สุนทรภู่)
-
บทละคร (วันสุนทรภู่)
- อภัยนุราช
-
บทเสภา (วันสุนทรภู่)
- ขุนช้างขุนแผน (กำเนิดพลายงาม)
- เสภาพระราชพงศาวดาร
-
บทเห่กล่อม (วันสุนทรภู่)
- เห่เรื่องพระอภัยมณี
- เห่เรื่องโคบุตร
- เห่เรื่องจับระบำ
- เห่เรื่องกากี
การแปลผลงานของสุนทรภู่เป็นภาษาต่างๆ
มีการแปลผลงานของสุนทรภู่เป็นภาษาต่างๆดังนี้
-
ภาษาไทยถิ่นเหนือ พญาพรหมโวหาร กวีเอกของล้านนาแปลพระอภัยมณีคำกลอนเป็นค่าวซอตามความประสงค์ของเจ้าแแค่ต อนที่ศรีสุวรรณอภิเษกกับนางเกษรา
-
ภาษาเขมร ผลงานของสุนทรภู่ที่แปลเป็นภาษาเขมรมีสามเรื่องคือ
- พระอภัยมณี ไม่ปรากฏชื่อผู้แปล แปลถึงแค่ตอนที่นางผีเสื้อสมุทรลักพระอภัยมณีไปไว้ในถ้ำเท่านั้น
- ลักษณวงศ์ แปลโดย ออกญาปัญญาธิบดี (แยม)
- สุภาษิตสอนหญิงหรือสุภาษิตฉบับสตรี แปลโดย ออกญาสุตตันตปรีชา (อินทร์)
วันสุนทรภู่
วันสุนทรภู่ ตรงกับวันเกิดคือวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี และในปีนี้ วันสุนทรภู่ตรงกับวันพุธ ที่ 26 มิถุนายน 2556
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)